
แนวคิดและพลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาเคมี
Quiz by สุมารินทร์ นิโรจน์
Feel free to use or edit a copy
includes Teacher and Student dashboards
Measure skillsfrom any curriculum
Tag the questions with any skills you have. Your dashboard will track each student's mastery of each skill.
- edit the questions
- save a copy for later
- start a class game
- automatically assign follow-up activities based on students’ scores
- assign as homework
- share a link with colleagues
- print as a bubble sheet
- Q1
พลังงานก่อกัมมันต์ คืออะไร
พลังงานสูงที่สุดที่อนุภาคของสารเชิงซ้อนจะต้องมีเพื่อให้ชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยา
พลังงานสูงที่สุดที่อนุภาคของสารจะต้องมีเพื่อให้ชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยา
พลังงานต่ำที่สุดที่อนุภาคของสารจะต้องมีเพื่อให้ชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยา
พลังงานต่ำที่สุดที่อนุภาคของสารเชิงซ้อนจะต้องมีเพื่อให้ชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยา
30s - Q2
ในระหว่างเกิดสารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น (Activated Complex)พันธะเคมีของสารตั้งต้นจะมีลักษณะเป็นอย่างไร
อ่อนลงและเริ่มมีการสร้างพันธะใหม่ระหว่างคู่อะตอม
มีความแข็งแรงคงที่โดยพันธะเก่าจะค่อยๆ ถูกทำลายลงเอง
ไม่สามารถสรุปได้แน่นอน
แข็งแรงยิ่งขึ้นและมีการสลายพันธะเก่า
30s - Q3
สารชนิดใดที่ถือว่าเป็นสารที่มีอายุสั้นมาก
สารผลิตภัณฑ์
สารตั้งต้น
ตัวเร่งปฏิกิริยา
สารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น
30s - Q4
ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับการชนกันของอนุภาค
ในการชนกันของอนุภาคจะทำให้เกิดปฏิกิริยาทุกครั้ง
ในการชนกันของอนุภาคบางครั้งก็เกิดปฏิกิริยา บางครั้งก็ไม่เกิดปฏิกิริยา
ในการชนกันของอนุภาคมีโอกาสน้อยครั้งมากที่จะไม่เกิดปฏิกิริยา
ข้อมูลไม่เพียงพอ จึงไม่สามารถสรุปได้
30s - Q5
ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นได้ ก็ต่อเมื่ออนุภาคของสารตั้งต้นจะต้องมีการเคลื่อนที่ชนกันก่อน จากคำกล่าวข้างต้น เป็นคำกล่าวที่เกี่ยวข้องกับข้อใด
กฎอัตรา
ทฤษฎีสารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น หรือทฤษฎีสภาวะแทรนซิชัน
ทฤษฎีการชน
พลังงานก่อกัมมันต์
30s - Q6
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาของสารแต่ละปฏิกิริยา
มีการดูดพลังงานเข้าไปเพื่อสร้างพันธะในสารผลิตภัณฑ์
มีการคายพลังงานออกมาเพื่อสลายพันธะในสารผลิตภัณฑ์
มีการคายพลังงานออกมาเพื่อสลายพันธะในสารตั้งต้น
มีการดูดพลังงานเข้าไปเพื่อสลายพันธะในสารตั้งต้น
30s - Q7
การชนกันของอนุภาคของสารตั้งต้นจะเกิดปฏิกิริยาได้หรือไม่ต้องขึ้นอยู่กับปัจจัยใด
พลังงานศักย์ของอนุภาคที่เคลื่อนที่ชนกันและทิศทางการชนของอนุภาค
พลังงานศักย์ของอนุภาคที่เคลื่อนที่ชนกันและชนิดของสารตั้งต้น
พลังงานจลน์ของอนุภาคที่เคลื่อนที่ชนกันและทิศทางการชนของอนุภาค
พลังงานจลน์ของอนุภาคที่เคลื่อนที่ชนกันและชนิดของสารตั้งต้น
30s - Q8
ในขณะที่เกิดสารผลิตภัณฑ์ พลังงานศักย์จะมีค่าเป็นอย่างไร
มีค่าลดลงแล้วจะเปลี่ยนไปเป็นพลังงานจลน์เพื่อใช้ในการเคลื่อนที่ต่อไป
มีค่าคงที่เพราะในขณะที่เกิดสารผลิตภัณฑ์นั้นจะไม่มีผลเกี่ยวข้องกับพลังงาน
มีค่าเพิ่มขึ้นและลดลงสลับกันอยู่ตลอดเวลา
มีค่าเพิ่มขึ้นเพื่อใช้ในการสร้างพันธะใหม่
30s - Q9
การที่มีพลังก่อกัมมันต์สูงจะมีผลอย่างไรกับปฏิกิริยาเคมี
จะเป็นฏิกิริยาดูดความร้อน
ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดการสมดุล
ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดได้เร็ว
ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดได้ช้า
30s - Q10
ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดได้เร็วสัมพันธ์กันอย่างไรกับพลังงานก่อกัมมันต์
จะเกิดพลังงานจลน์สูง
จะเกิดพลังงานก่อกัมมันต์ต่ำ
จะเกิดพลังงานก่อกัมมันต์สูง
จะเกิดพลังงานจลน์ต่ำ
30s - Q11
สถานะที่อนุภาคชนกันแล้วมีการจัดเรียงตัวกันที่เหมาะสมและมีพลังงานศักย์มากพอที่จะทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ได้ คือข้อใด
สภาวะสมดุล
สภาวะแข่งขัน
สถานะของสาร
สถานะแทรนซิชัน
30s