placeholder image to represent content

ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา M.5

Quiz by Pit Cher

Our brand new solo games combine with your quiz, on the same screen

Correct quiz answers unlock more play!

New Quizalize solo game modes
16 questions
Show answers
  • Q1

    ในอุตสาหกรรมการผลิตแอมโมเนีย (NH3) ต้องเติม "เหล็ก" ลงไปเล็กน้อย เพื่อช่วยให้ปฏิกิริยาเกิดขึ้นได้

    Question Image

    ตัวเร่งปฏิกิริยา

    อุณหภูมิ

    พื้นที่ผิว

    ความเข้มข้น

    30s
  • Q2

    แอมโมเนียมซัลเฟต เมื่อเติมลงเพลิงไหม้ สามารถทำให้การเผาไหม้ช้าลงได้

    Question Image

    พื้นที่ผิว

    อุณหภูมิ

    ตัวหน่วงปฏิกิริยา

    ความเข้มข้น

    30s
  • Q3

    หินปูนเป็นก้อน ๆ ทำปฏิกิริยากับกรดเอทาโนอิกได้ช้า แต่เมื่อบดเป็นผงแล้วให้ทำปฏิกิริยากับกรดชนิดเดิมจะเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่า

    Question Image

    ความเข้มข้น

    พื้นที่ผิว

    ตัวเร่งปฏิกิริยา

    อุณหภูมิ

    30s
  • Q4

    ฝอยเหล็กกับชิ้นเหล็กน้ำหนักเท่ากัน เมื่อทำปฏิกิริยากับสารละลาย HCl ความเข้มข้น 2 mol/L พบว่าฝอยเหล็กเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่า

    Question Image

    ตัวเร่งปฏิกิริยา

    อุณหภูมิ

    ความเข้มข้น

    พื้นที่ผิว

    30s
  • Q5

    หมูสับเมื่อนำไปปรุงอาหาร จะสุกเร็วกว่าหมูชิ้น

    Question Image

    ตัวเร่งปฏิกิริยา

    ความเข้มข้น

    พื้นที่ผิว

    อุณหภูมิ

    30s
  • Q6

    ปฏิกิริยาระหว่าง CaCO3 กับกรดแอซิติก เมื่อเติม NaF ลงไปทำให้เกิดฟองแก๊สช้าลง

    Question Image

    อุณหภูมิ

    ตัวเร่งปฏิกิริยา

    ตัวหน่วงปฏิกิริยา

    ความเข้มข้น

    30s
  • Q7

    เมื่อมีเชื้อโรคเข้าจู่โจมร่างกาย ร่างกายต้องทำปฏิกิริยาเคมีเพื่อให้เกิดพลังงานไปสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อต่อต้านเชื้อโรค ถ้าทำปฏิกิริยาตามปกติ กว่าจะเกิดพลังงานเพื่อไปต่อสู้กับเชื้อโรคอาจต้องใช้เวลานานกว่า 3 เดือน แต่หากร่างกายมี “เอนไซม์” เป็นตัวช่วย ปฏิกิริยาจะเกิดเร็วมากในเวลาเพียง 1 นาทีแรก ก็สามารถสร้างพลังงานไปต่อสู้กับเชื้อโรคได้แล้ว

    Question Image

    พื้นที่ผิว

    อุณหภูมิ

    ตัวเร่งปฏิกิริยา

    ความเข้มข้น

    30s
  • Q8

    เนื้อหมูที่เอาไว้ด้านนอก จะเน่าเสียเร็วกว่าเนื้อหมูที่เอาไว้ในตู้เย็น

    Question Image

    ความเข้มข้น

    ตัวหน่วงปฏิกิริยา

    ตัวเร่งปฏิกิริยา

    อุณหภูมิ

    30s
  • Q9

    การเคี้ยวอาหารให้ละเอียดก่อนกลืน จะทำให้ย่อยได้ง่ายขึ้น

    Question Image

    อุณหภูมิ

    ตัวเร่งปฏิกิริยา

    พื้นที่ผิว

    ความเข้มข้น

    30s
  • Q10

    กลีเซอรอล ทำให้ปฏิกิริยาการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ช้าลง

    Question Image

    อุณหภูมิ

    ตัวเร่งปฏิกิริยา

    ความเข้มข้น

    ตัวหน่วงปฏิกิริยา

    30s
  • Q11

    เชื้อเพลิงที่ผสมอยู่กับออกซิเจนจะยังไม่ติดไฟ จนกว่าจะได้รับ "ประกายไฟ"

    Question Image

    ความเข้มข้น

    ตัวเร่งปฏิกิริยา

    ตัวหน่วงปฏิกิริยา

    อุณหภูมิ

    30s
  • Q12

    กรด HCl ทำปฏิกิริยากับโลหะแมกนีเซียมจะเกิดฟองแก๊ส

    แต่เมื่อผสมน้ำเปล่าลงไปด้วย จะทำให้เกิดฟองแก๊สช้าลง

    Question Image

    ความเข้มข้น

    อุณหภูมิ

    ตัวหน่วงปฏิกิริยา

    ตัวเร่งปฏิกิริยา

    30s
  • Q13

    เมื่อวางโลหะ A ในอากาศ จะทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนอย่างช้าๆ

    แต่ถ้านำโลหะ A ไป "เผา" จะเกิดการลุกไหม้อย่างรวดเร็ว และได้ออกไซด์ของโลหะ A ออกมา

    Question Image

    ความเข้มข้น

    อุณหภูมิ

    ตัวเร่งปฏิกิริยา

    ตัวหน่วงปฏิกิริยา

    30s
  • Q14

    กรดออกซาลิกเข้มข้น 0.5 M ทำปฏิกิริยากับ KMnO4 ใช้เวลา 2 นาที

    แต่เมื่อเปลี่ยนกรดออกซาลิกเป็น 1 M ทำปฏิกิริยาแบบเดิม ใช้เวลาเพียง 1 นาที

    Question Image

    ความเข้มข้น

    ตัวเร่งปฏิกิริยา

    ตัวหน่วงปฏิกิริยา

    อุณหภูมิ

    30s
  • Q15

    โซเดียมไทโอซัลเฟต 80% ทำปฏิกิริยากับ HCl ได้เร็วกว่าโซเดียมไทโอซัลเฟต 60%

    Question Image

    ตัวหน่วงปฏิกิริยา

    ตัวเร่งปฏิกิริยา

    อุณหภูมิ

    ความเข้มข้น

    30s

Teachers give this quiz to your class